(Root) 2009411_66028.jpg      (animation) 2009411_69211.gif (animation) 2009411_69475.gif(Root) 2009417_31774.jpg  (Root) 2009411_66497.jpg
(Root) 2009417_32374.jpg

(Root) 2009831_37002.gif

(webz) 2009927_68520.gif (webz) 2009927_68596.gif (webz) 2009927_68634.gif
(webz) 2009927_68763.gif  

โครงการฝนหลวง เป็นโครงการที่เกิดขึ้นจากพระราชดำริส่วนพระองค์ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เพื่อสร้างฝนเทียมสำหรับบรรเทาปัญหาความแห้งแล้งขาดแคลนน้ำในเมื่อคราวที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช เสด็จพระราชดำเนินเยี่ยมพสกนิกร เมื่อปี พ.ศ. 2498 ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ได้ทรงรับทราบถึงความเดือดร้อนทุกข์ยากของราษฎรและเกษตรกรที่ขาดแคลนน้ำอุปโภคบริโภคและการเกษตร จึงได้มีพระมหากรุณาธิคุณพระราชทานโครงการพระราชดำริ "ฝนหลวง" ให้กับ ม.ร.ว.เทพฤทธิ์ เทวกุล ไปดำเนินการ ซึ่งต่อมาได้เกิดเป็นโครงการค้นคว้าทดลองปฏิบัติการฝนเทียมหรือฝนหลวงขึ้น ในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เมื่อปี พ.ศ. 2512 ด้วยความสำเร็จของ โครงการ จึงได้ตราพระราชกฤษฎีกาก่อตั้งสำนักงานปฏิบัติการฝนหลวงขึ้นในปี พ.ศ. 2518 ในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เพื่อเป็นหน่วยงานรองรับโครงการพระราชดำริฝนหลวงต่อไป


(webz) 2009927_68719.gif
 

การทำฝนเทียมหรือฝนหลวงเป็นกรรมวิธีการเหนี่ยวนำน้ำจากฟ้า ใช้เครื่องบินบรรจุสารเคมีขึ้นไปโปรยในท้องฟ้า โดยดูจากความชื้นของเมฆและสภาพทิศทางลมประกอบกัน ปัจจัยสำคัญที่ทำให้เกิดฝนคือ ความร้อนชื้นปะทะความเย็น และมีแกนกลั่นตัวที่มีประสิทธิภาพในปริมาณที่เหมาะสม กล่าวคือ เมื่อมวลอากาศร้อนชื้นที่ระดับผิวพื้นขึ้นสู่อากาศเบื้องบน อุณหภูมิของมวลอากาศจะลดต่ำลงจนถึงความสูงที่ระดับหนึ่ง หากอุณหภูมิที่ลดต่ำลงนั้นมากพอก็จะทำให้ไอน้ำในมวลอากาศอิ่มตัว จะเกิดขบวนการกลั่นตัวเองของไอน้ำในมวลอากาศขึ้นบนแกนกลั่นตัว เกิดเป็นฝนตกลงมา ฉะนั้นสารเคมีที่ใช้จึงประกอบด้วย "สูตรร้อน" ใช้เพื่อกระตุ้นเร่งเร้ากลไกการหมุนเวียนของบรรยากาศ, "สูตรเย็น" ใช้เพื่อกระตุ้นกลไกการรวมตัวของละอองเมฆให้โตขึ้นเป็นเม็ดฝน และสูตรที่ใช้เป็นแกนดูดซับความชื้น เพื่อใช้กระตุ้นกลไกระบบการกลั่นตัวให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น


 Cloud seeding, a form of weather modification, is the attempt to change the amount or type of precipitation that falls from clouds, by dispersing substances into the air that serve as cloud condensation or ice nuclei, which alter the microphysical processes within the cloud. The usual intent is to increase precipitation (rain or snow), but hail and fog suppression are also widely practiced in airports.

The most common chemicals used for cloud seeding include silver iodide and dry ice (frozen carbon dioxide). The expansion of liquid propane into a gas has also been used and can produce ice crystals at warmer temperatures than silver iodide. The use of hygroscopic materials, such as salt, is increasing in popularity because of some promising research results.

 

Seeding of clouds requires that they contain supercooled liquid water—that is, liquid water colder than zero degrees Celsius. Introduction of a substance such as silver iodide, which has a crystalline structure similar to that of ice, will induce freezing nucleation. Dry ice or propane expansion cools the air to such an extent that ice crystals can nucleate spontaneously from the vapor phase. Unlike seeding with silver iodide, this spontaneous nucleation does not require any existing droplets or particles because it produces extremely high vapor supersaturations near the seeding substance. However, the existing droplets are needed for the ice crystals to grow into large enough particles to precipitate out.

(webz) 2009927_69036.gif

         (animation) 2009430_37691.gif

VDO FROM YOUTUBE
ROYAL RAINMAKING IN THAILAND

(webz) 2009927_69089.gif
(webz) 2009927_70295.gif (webz) 2009927_70345.gif (webz) 2009927_70394.gif

  

(animation) 2009411_69211.gif(animation) 2009411_69475.gif    เชิญส่งภาพของท่านมาทำเป็นภาพเคลื่อนไหว ฟรี
CHANGE YOUR PICTURE TO ANIMATION HERE! 
                BACK(animation) 2009411_69035.gif

Advertising Zone    Close

ด้วยความปราถนาดีจาก "สยามทูเว็บดอทคอม" และเพื่อป้องกันการเปิดเว็บไซต์เพื่อหลอกลวงขายของ โปรดตรวจสอบร้านค้าให้แน่ใจก่อนตัดสินใจซื้อของทุกครั้งนะคะ    อ่านเพิ่มเติม ...