(Root) 2009411_66028.jpg      (animation) 2009411_69211.gif (animation) 2009411_69475.gif(Root) 2009417_31774.jpg  (Root) 2009411_66497.jpg
(Root) 2009417_32374.jpg

  (Root) 2009831_37002.gifMIG-29

(weby) 2009914_30203.gif (weby) 2009914_38518.gif (weby) 2009914_30297.gif
(weby) 2009914_30342.gif  

มิโคยัน มิก-29 (อังกฤษ: Mikoyan MiG-29, รัสเซีย: ?????? ???-29) เป็นเครื่องบินขับไล่รุ่นที่สี่ซึ่งถูกออกแบบโดยสหภาพโซเวียตสำหรับบทบาทครองความเป็นจ้าวอากาศ มันถูกสร้างขึ้นในปีพ.ศ. 2513 โดยมิโคยัน มันได้เข้าประจำการในกองทัพอากาศโซเวียตเมื่อปีพ.ศ. 2526 และยังคงถูกใช้โดยกองทัพอากาศรัสเซียเช่นเดียวกับหลายๆ ประเทศ นาโต้เรียกมิก-29 ว่าฟัลครัม (Fulcrum) ซึ่งถูกใช้อย่างไม่เป็นทางการโดยนักบินโซเวียต[1]มันถูกสร้างขึ้นเพื่อต่อกรกับเครื่องบินขับไล่ใหม่ของสหรัฐฯ อย่างเอฟ-16 ไฟท์ติ้งฟอลคอนและเอฟ/เอ-18 ฮอร์เน็ท


(weby) 2009914_30587.gif
 มันถูกออกแบบมาจากเครื่องบินพีเอฟไอของทีเอสเอจีไอ มิก-29 จึงมีระบบอากาศพลศาสตร์ที่คล้ายคลึงกับซุคฮอย ซู-27 แต่มีข้อแตกต่างที่โดดเด่นกว่าบ้าง โครงสร้างส่วนใหญ่ทำมาจากอะลูมิเนียมและวัสดุผสม มันมีปีกแบบลู่ที่กลืนเข้ากับปีกเสริมที่ส่วนหน้าโดยทำมุม 40 องศา มันมีส่วนหางที่ลู่ไปทางด้านหลังและหางคู่ติดตั้งอยู่ที่ส่วนท้ายเครื่องยนต์ มันมีแพนปีกส่วนหน้าสี่ส่วนและห้าส่วนในรุ่นต่อๆ มา เมื่อมันถูกนำมาใช้งานมันเป็นเครื่องบินขับไล่เครื่องยนต์ไอพ่นแบบแรกของรัสเซียที่สามารถทำกระบวนท่าที่เรียกว่าปูกาเชฟส์คอบราได้

มิก-29 มีการควบคุมด้วยไฮดรอลิกและระบบนักบินอัตโนมัติเอสเอยู-451 แต่ไม่เหมือนกันซู-27 ตรงที่มันไม่มีระบบฟลาย-บาย-ไวร์ ถึงกระนั้นมันก็มีความว่องไวและการเลี้ยวที่ยอดเยี่ยม มันสามารถทำมุมปะทะได้ในระดับอัลฟา และมีการต้านทานการหมุน โครงสร้างถูกทำให้สามารถรับแรง 9 จีได้ การควบคุมมีการจำกัดเพื่อป้องกันไม่ให้นักบินทำแรงมากกว่า 9 จี แต่ก็สามารถปลดระบบนี้ออกได้ ในการฝึกของกองทัพอากาศสหรัฐร่วมกับกองทัพอากาศเยอรมนี มิก-29 ของฝ่ายเยอรมนีได้เอาชนะเอฟ-16 ในการต่อสู้ระยะใกล้แทบจะทุกครั้งด้วยการใช้เซ็นเซอร์ไออาร์เอสทีและหมวกแสดงภาพ พร้อมกับขีปนาวุธวิมเปล อาร์-73

 
3-view drawing of MiG-29
  • นักบิน หนึ่งนาย
  • ความยาว 17.37 เมตร
  • ระยะระหว่างปีกทั้งสองข้าง 11.4 เมตร
  • ความสูง 4.73 เมตร
  • พื้นที่ปีก 38 ตารางเมตร
  • น้ำหนักเปล่า 11,000 กิโลกรัม
  • น้ำหนักพร้อมอาวุธ 16,800 กิโลกรัม
  • น้ำหนักวิ่งขึ้นสูงสุด 21,000 กิโลกรัม
  • ขุมกำลัง เครื่องยนต์เทอร์โปแฟนพร้อมสันดาปท้ายแบบคลิมอฟ อาร์ดี-33 ให้แรงขับเครื่องละ 18,300 ปอนด์
  • ความเร็วสูงสุด 2.25 มัค (2,400 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) 1,500 กิโลเมตรต่อชั่วโมง (ในระดับความสูงต่ำ)
  • พิสัย 700 กิโลเมตร
  • พิสัยในการขนส่ง 2,100 กิโลเมตรพร้อมถังเชื้อเพลิงแบบทิ้งได้ 1 ถัง
  • เพดานบินทำการ 59,100 ฟุต
  • อัตราไต่ระดับ 65,000 ฟุตต่อนาที
  • น้ำหนักที่ปีกรับได้ 442 กิโลกรัมต่อตารางเมตร
  • อัตราการเร่งต่อน้ำหนัก 1.13
  • อาวุธ
 

The Mikoyan MiG-29 (Russian: ?????? ???-29) is a 4th generation jet fighter aircraft designed in the Soviet Union for an air superiority role. Developed in the 1970s by the Mikoyan design bureau, it entered service with the Soviet Air Force in 1983, and remains in use by the Russian Air Force as well as in many other nations. NATO’s reporting name for the MiG-29 is 'Fulcrum', which was unofficially used by Soviet pilots in service.[2] The MiG-29 along with the Su-27 were developed to counter new American fighters such as the F-15 Eagle, and the F-16 Fighting Falcon.[3]

The workload split between TPFI and LPFI became more apparent as the MiG-29 filtered into front line service with the VVS in the mid-1980s. While the heavy, long range Su-27 was tasked with the more exotic and dangerous role of deep air-to-air sweeps of NATO high-value assets, the smaller MiG-29 directly replaced the MiG-23 in the frontal aviation role. The MiG-29 was positioned relatively close to the front lines, tasked with providing local air superiority to advancing Soviet motorized army units. Rugged landing gear and protective intake grates meant the MiG-29 could operate from the damaged or under-prepared airstrips Soviet war planners expected to encounter during a rapid armored advance. The MiG-29 was also tasked with escort duties for local strike and interdiction air packages, protecting vulnerable ground attack aircraft from NATO fighters such as the F-15 and F-16. Frontal aviation MiG-29s would ensure Soviet ground forces could operate under a safe air umbrella, moving forward with the troops as they advanced.

(weby) 2009914_38352.gif  (weby) 2009914_38495.gif (weby) 2009914_38386.gif
(weby) 2009914_38472.gif

            (animation) 2009430_37691.gif
 VDO FROM YOUTUBE

MIG-29 FULCRUM

(weby) 2009914_38538.gif

  

(animation) 2009411_69211.gif(animation) 2009411_69475.gif    เชิญส่งภาพของท่านมาทำเป็นภาพเคลื่อนไหว ฟรี
CHANGE YOUR PICTURE TO ANIMATION HERE! 
                BACK(animation) 2009411_69035.gif 


Advertising Zone    Close

ด้วยความปราถนาดีจาก "สยามทูเว็บดอทคอม" และเพื่อป้องกันการเปิดเว็บไซต์เพื่อหลอกลวงขายของ โปรดตรวจสอบร้านค้าให้แน่ใจก่อนตัดสินใจซื้อของทุกครั้งนะคะ    อ่านเพิ่มเติม ...